A Rai Naa >>>
ดู Blog ทั้งหมด

โรคเลือดจางจากการขาดธาตุเหล็ก

เขียนโดย A Rai Naa >>>

โรคเลือดจางจากการขาดธาตุเหล็ก

(Iron deficiency anemia)

สาเหตุ

ได้รับ Fe ไม่เพียงพอ

Fe ที่สะสมไม่เพียงพอ

เสียเลือดเรื้อรัง

พยาธิสภาพ

Fe เป็นองค์ประกอบสำคัญในการสร้าง RBC และ Hb

Fe อยู่ในร่างกาย 3 แบบ คือ จับกับ transferring, ferritin, heme

ถ้า transferring จับกับ Fe < 15% การสร้าง RBC ในไขกระดูกลดลง RBC เล็ก สีจาง

การขาด Fe ทำให้ การทำงานของกล้ามเนื้อลดลง ระบบภูมิคุ้มกันลดลง T-lymphocyte, Neutrophil เสียหน้าที่ Cell ในกระเพาะอาหารเสื่อม หลั่งกรดเกลือลดลง การดูดซึม Fe ลดลง

การป้องกันและการรักษา

1.       ให้ Fe วันละ 30 mg. สำหรับ Twins วันละ 60-100 mg.

2.       ให้ยาบำรุงธาตุเหล็ก วันละ 200 mg. ร่างกายจะดูดซึม ได้ 20-25 mg. ควรให้ในขณะท้องว่าง ครั้งละ 1-2 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร

3.       การให้ธาตุเหล็กโดยการฉีด มีอันตรายและราคาแพง

4.       การให้เลือด PRC / Whole blood ในกรณี Hypovolemia
 

โรคเลือดจางจากการขาดกรดโฟลิค

(Folic acid deficiency anemia)

กรดโฟลิค ใช้สังเคราะห์ DNA และ การแบ่งตัวของ cell ระหว่างตั้งครรภ์ต้องการกรดโฟลิควันละ 400 ไมโครกรัม เพื่อใช้ในการ เจริญเติบโตของทารก รก และ สร้าง RBC
 

สาเหตุ

1.       ได้รับกรดโฟลิคไม่เพียงพอ

2.       ร่างกายต้องการกรดโฟลิคเพิ่มขึ้น

3.       การสังเคราะห์และการดูดซึมถูกขัดขวาง
 

 

 

การป้องกันและการรักษา

1.       ในหญิงตั้งครรภ์ ให้กรดโฟลิควันละ 400 ไมโครกรัม

2.       ในผุ้ที่มีภาวะโลหิตจาง ให้กรดโฟลิควันละ 1 มิลลิกรัม

3.       แนะนำวิธีการปรุงอาหารที่ถูกวิธี
 

Idiopathic Thrombocytopenic Purpura (ITP)

เป็นกลุ่ม Autoimmune มีการสร้าง Antibody ทำลายเกร็ดเลือด ทำให้เกร็ดเลือดต่ำ อาจไม่มีอาการ มีจ้ำเลือด จุดเลือดออก
 

การวินิจฉัย

ตรวจ Lab พบ เกร็ดเลือดต่ำ ขนาดโต
 

ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค

มีแนวโน้มเลวลง
 

ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์

1.       อาจมีปัญหาตกเลือดในระยะคลอด หลังคลอด

2.       การรักษา อาจมีอันตรายต่อมารดา

3.       อัตราตายทารกปริกำเนิดเพิ่มขึ้น


การดูแลรักษา

1.       รักษาเหมือนไม่ตั้งครรภ์

เกร็ดเลือดต่ำ ให้ Prednisolone 60-100 mg./วัน

ลดขนาดยา เมื่อ เกร็ดเลือดมากกว่า 150,000 ลบ.มม

พิจารณาตัดม้าม ในรายที่ให้ยา 3 สัปดาห์แล้ว ไม่ดีขึ้น

2.       ระยะคลอด ป้องกันการตกเลือด ให้ C/S เพื่อลดความเสี่ยง

3.       ระยะหลังคลอด ระวังและป้องกันการตกเลือดหลังคลอด โดยการคลึงมดลูก ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก

ความคิดเห็น

ยังไม่มีความคิดเห็น