A Rai Naa >>>
ดู Blog ทั้งหมด

Pre-Operation Teaching in C/S

เขียนโดย A Rai Naa >>>

Pre-Operation Teaching in C/S

1.       อธิบายสาเหตุและความจำเป็นในการทำ C/S และขั้นตอนการทำ

2.       ประเมินความวิตกกังวลและเปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก

3.       อธิบายเกี่ยวกับการใช้ยาระงับความรู้สึกชนิดต่างๆ เช่น G.A, Spinal Block, Epidural Block

4.       อธิบายเกี่ยวกับ  Electrocoagulation

5.       อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลัง C/S

การพยาบาลหลังทำ C/S

1.       ป้องกันการตกเลือด โดย

การวัดสัญญาณชีพ

ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก

สังเกต Bleeding จาก Per vagina และ C/S wound

ควบคุมการไหลของสารน้ำ

2.       ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาสลบหรือระงับความเจ็บปวด

กรณี Under general anesthesia

Conscious level ประเมินระดับการรู้สึกตัว

จัด Position ให้นอนหงายราบตะแคงหน้า

V/S

Effective cough

กรณีทำ Spinal block

Observation sensory and motor function

Position => นอนราบ 8-12 ชั่วโมง

Observeation post spinal headache อาการปวดศีรษะปวดต้นคอ

3.       เพื่อให้ร่างกายสุขสบาย และมีอาการปวดแผลน้อยลง โดยประเมินอาการปวด และหาสาเหตุ Check V/S ก่อนให้ยา และให้ยาแก้ปวดตามแพทย์สั่ง

4.       เพื่อป้องกันภาวะ Dehydration และ Fluid over load โดยสังเกตอาการ

สังเกตอาการ Dehydration และดู IVF ให้ได้ตามจำนวน บันทึก สารน้ำเข้า-ออก และสังเกต Fluid over load

5.       ป้องกันปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ โดยขณะ Retained Foley’s cath ระวังสายหัก พับ งอ สังเกตสีปัสสาวะและจำนวน

หลัง off foley’s cath สังเกตการขับถ่ายปัสสาวะ

6.ป้องกันถาวะท้องอืด โดยให้มี early ambulation

7. ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากภาวะซีด โดยประเมินภาวะซีดและแนะนำการมี early ambulation

8. ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบสืบพันธุ์ และแผล C/S

- Observe urine สี

- Observe lochia สี กลิ่น

- Observe V/S โดยเฉพาะ Temperature

9. Promotion of bonding

- การให้ข้อมูลเกี่ยวกับทารก

แนะนำวิธีการเลี้ยงดู

Rooming-in ให้มารดาและทารกอยู่ด้วยกัน

การช่วยคลอดท่าก้น (Breech Presentation)

ชนิดของส่วนนำเป็นก้น

สามารถแบ่งเป็น 3 ชนิดได้แก่

1.Frank breech ทารกจะมีการงอเข่า (flexion) ของข้อสะโพกทั้งสองข้าง และมีการเหยียดออก (Extention) ที่บริเวณข้อเข่าทั้งสองข้าง

2.Complete breech ทารกจะมีการงอเข้า (flexion) ของทั้งข้อสะโพกทั้งสองข้างและข้อเข่าทั้งสองข้าง

3.Footling (incomplete breech) ทารกจะมีส่วนนำที่เป็นขา 1 หรือ 2 ข้าง อยู่ต่ำกว่าก้น

การวินิจฉัย

การตรวจทางหน้าท้องจะคลำได้ศีรษะอยู่ส่วนบนของมดลูก คลำได้ก้อนกลม แข็ง มีลักษณะ ballotment และส่วนล่างจะคลำได้นุ่มกว่าส่วนบน การตรวจภายใน จะคลำได้ปุ่มกระดูก ischial tuberosity  2 ข้าง โดยมีรูทวารหนักอยู่ตรงกลาง ภาวะที่พบร่วมกับทารกที่มีส่วนนำเป็นก้น คือ ครรภ์แฝด ภาวะน้ำคร่ำน้อย รกเกาะต่ำ

การดูแลรักษา

มีการใช้วิธีการบางอย่าง เช่น Extrnal cephalic version ในการที่กลับทารกจากท่าก้นมาเป็นท่าศีรษะ ควรทำเมื่ออายุครรภ์หลัง 37 สัปดาห์

ข้อบ่งชี้

สำหรับการคลอดทารกที่มีส่วนนำเป็นก้น โดยการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องคือ

1.       ทารกตัวโต

2.       มีภาวะช่องเชิงกรานแคบ

3.       ทารกศีรษะแหงนมาก (Hyperextended head)

4.       ไม่เจ็บครรภ์

5.       ภาวะมดลูกหดรัดตัวผิดปกติ (Uterine dysfunction)

ความคิดเห็น

ยังไม่มีความคิดเห็น