ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    วิชา นาฎศิลป์ เรื่อง ปัจจัยในการแสดงนาฎศิลป์

    ลำดับตอนที่ #2 : การแสดงในภาคเหนือ(ฟ้อนกิ่งกระหร่า กำเบ้อดง และเล่นโต)

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 503
      1
      21 ม.ค. 53

                  ฟ้อนกิ่งกระหร่า กำเบ้อดง และเล่นโต การรำกิ่งกะหร่า ในอดีตจะ เป็นการแสดงที่เฉลิมฉลองเทศกาลออก พรรษาซึ่งตรงกับเดือนสิบเอ็ด ภาษาไทย ใหญ่เรียกว่า “ปอยเดือนสิบเอ็ด” หรือ “ออกหว่า” (หว่า=พรรษา)ต่อมาถูก ประยุกต์ใช้กับเทศกาลงานบุญอื่นๆ เป็น ครั้งคราว ในปัจจุบันสามารถพบการแสดง กิ่งกะหร่าได้ในงานรับรองแขกบ้านแขก เมือง ตลอดจนการสาธิตหรือแลกเปลี่ยน วัฒนธรรมระหว่างภูมิภาคและระหว่างชาติ ด้วย" กิ่งกระหร่า " หมายถึง กินนรา กำเบ้อดง "กำเบ้อ" หมายถึง ผีเสื้อ "ดง" หมายถึง ชื่อแม่น้ำสาละวิน " โต " เป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ชนิดหนึ่ง รูปร่างลักษณะเป็นสัตว์สี่เท้า นิยมแสดงในงานเทศกาลออกพรรษาตามตำนานที่เล่า สัตว์เหล่านี้มาแสดงความรื่นเริงต้อนรับพระพุทธองค์ เมื่อครั้งเสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์ หลักจากโปรดพระพุทธมารดา

                  การรำกิ่งกะหร่า เป็นการ เลียนแบบกิริยาท่าทางของกินร มีท่ารำพื้นฐานสำคัญ ๕ ท่า คือ
    .๑ ท่าบินด้วยความดีใจ
    .๒ ท่ากราบไหว้
    .๓ ท่ากระโดดดีดขาซ้าย ขวาสลับกัน ผงกศีรษะและท่าจัดแต่งขน ด้วยมือ
    .๔ ท่าเกี้ยวพาราสี ตัว เมียนิ้วรำ ตัวผู้รำป้อวนไปรอบๆ ตัวเมีย
    .๕ ท่ากระพือปีกรำเป็น วงไปรอบๆ แสดงความ ปิติเริงร่า
    http://www.youtube.com/watch?v=E7Pdob5fFGE&feature=related : คลิปการแสดง

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×