เอะอะก็อัญเชิญเกรงใจพี่บ้างสิเอ้ย! - นิยาย เอะอะก็อัญเชิญเกรงใจพี่บ้างสิเอ้ย! : Dek-D.com - Writer
×

    เอะอะก็อัญเชิญเกรงใจพี่บ้างสิเอ้ย!

    โดย Itti

    การถูกเลือกให้เป็นผู้กล้านั้นใช่ว่าจะเป็นใครก็ได้ แต่สำหรับชายคนนี้ไม่รู้ว่าเป็นความซวยหรืออะไรที่ดลใจให้เขาถูกอัญเชิญไปต่างโลกซ้ำแล้วซ้ำเล่าอย่างที่เจ้าตัวปฏิเสธอะไรไม่ได้

    ผู้เข้าชมรวม

    44,201

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    35

    ผู้เข้าชมรวม


    44.2K

    ความคิดเห็น


    448

    คนติดตาม


    1.93K
    จำนวนตอน : 54 ตอน
    อัปเดตล่าสุด :  14 ต.ค. 63 / 20:50 น.

    อีบุ๊กจากนิยาย ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

    สำหรับเรื่องนี้ไรท์จะพยายามอัพทุกสามหรือสี่วันครับ

    เพราะว่าแต่งหลายเรื่องแถมยังแปลการ์ตูนอีก 

    โดยจะเป็นไม่วันพุธ ก็วันอาทิตย์

    แต่ถ้าว่างจะอัพนอกรอบเอาไว้ด้วย 

    ดังนั้นฝากกดติดไว้นะครับ Itti

    ช่วงนี้ตันมาก ผมคงต้องไปวางโครงเรื่องใหม่เพิ่มต่อสักหน่อย ดังนั้นช่วงนี้อาจจะสั้นไปบ้างนะครับ
    วันนี้อัพตอนที่ 15 
    ขอให้สนุกครับ ^^

    *14/10/2020 





    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    คำนิยม Top

    "แปลกแต่ดี จริงแน่หรือ?"

    (แจ้งลบ)

    อ่านเพลินมาก แต่คำผิดเยอะไปนิส และก็ชอบตรงเปิดเรื่อง อลังดี การเปิดเรื่องหรือปุริมบท (Opening หรือ Exposition) การเปิดเรื่องเป็นสิ่งสำคัญมากอีกอย่างหนึ่ง ดูว่าผู้แต่งใช้วิธีใดในการเปิดเรื่อง เช่น เปิดด้วยบทสนทนา เปิดด้วยการวางฉาก เปิดด้วยการบรรยายตัวละคร เปิดด้วยพฤติกรรมของตัวละคร ดูว่าเปิดเรื่องได้มีเสน่ห์หรือน่าสนใจชวนให้ติดตามหรือไม่ เกิดความ ... อ่านเพิ่มเติม

    อ่านเพลินมาก แต่คำผิดเยอะไปนิส และก็ชอบตรงเปิดเรื่อง อลังดี การเปิดเรื่องหรือปุริมบท (Opening หรือ Exposition) การเปิดเรื่องเป็นสิ่งสำคัญมากอีกอย่างหนึ่ง ดูว่าผู้แต่งใช้วิธีใดในการเปิดเรื่อง เช่น เปิดด้วยบทสนทนา เปิดด้วยการวางฉาก เปิดด้วยการบรรยายตัวละคร เปิดด้วยพฤติกรรมของตัวละคร ดูว่าเปิดเรื่องได้มีเสน่ห์หรือน่าสนใจชวนให้ติดตามหรือไม่ เกิดความกระหายที่จะอ่านต่อหรือไม่อย่างไร มีปมอะไรซ่อนอยู่หรือไม่ การดำเนินเรื่อง (Movement of the Story) การสับต้องสังเกตดูว่าผู้แต่งใช้ตัวละครใดเป็นตัวหลักในการดำเนินเรื่อง มีการโยงเรื่องติดต่อไปเป็นลำดับๆ เร้าใจหรือไม่ ทำให้ผู้อ่านรู้สึกว่าจะมีเหตุการณ์สำคัญรออยู่ข้างหน้าหรือไม่ อืดอาดยืดยาดหรือไม่ มีสัมพันธภาพไหม เหตุการณ์ที่ดำเนินมีความยาวเหมาะสมกับเนื้อหาที่ผู้แต่งต้องการนำเสนอหรือไม่ การดำเนินเรื่องต้องมีเงื่อนงำ ความขัดแย้ง และขัอขัดแย้งได้ทวีซับซ้อนมากขึ้นๆ จนดำเนินไปถึงจุดที่เขม็งเกลียวที่สุด จนกระทั้งแตกหัก เกิดความเปลี่ยนแปลก แล้วผ่านไปให้ได้ซึ่งเรียกว่า จุดไคลแม็กซ์ (Climax) ซึงจะเป็นช่วงน่าติดตามที่สุด ทำให้อยากรู้ว่าเรื่องราวจะจบอย่างไร ความสนุกของเรื่องอยู่ที่ วิธีหน่วงเหนียว (Suspense) อย่าเปิดให้ผู้อ่านรูปไปเสียหมด ต้องให้รู้สึกพิศวงว่าเรื่องราวจะดำเนินไปอย่างไร เพื่อนำไปสู่ภาวะคลี่คลายของเรื่อง (Falling Action) การปิดเรื่อง (Ending) ต้องดูว่าผู้แต่งมีเจตนาให้จบเรื่องโดยให้ผู้อ่านรุ้สึกอย่างไร เช่น ให้ข้อคิด จบแบบทิ้งให้คิดที่ไม่มีข้อยุติชัดเจน หรือไปคิดต่อเอาเองตามสภาพพื้นฐานชีวิต จบแบบพลิกความคาดหมาย จบแบบเศร้า จบแบบมีความสุข หรือจบแบบเสียดสีเย้ยหยัน เป็นต้น ไม่ว่าจะจบแบบไหน ให้ดูว่าจบมีความน่าประทับใจ ให้จดจำเพียงใด แก่นเรื่อง (Theme) สารัตถะของเรื่อง คือศูนย์รวม ที่สุดของเนื้อหา คือเป้าหมายหลักที่ผู้แต่งต้องการสำเสนอ ซึ่งจุดนี้ถือว่าเป็นจุดที่วิเคราะห์วิจารณ์ยากที่สุด ต้องดูว่านับตั้งแต่การเปิดเรื่อง ดำเนินเรื่อง จนกระทั่งจบเรื่อง ผู้แต่งควบคุมเรื่องราวเพื่อต้องการแสดงให้เห็นในสิ่งที่ต้องการนำเสนอต่อผู้อ่านหรือไม่ บรรลุเป้าหมายชัดเจนไหม ทำให้ผู้อ่านเข้าใจมนุษย์ พฤติกรรมของมนุษย์ และสังคมได้กว้างขวางลึกซึ้งหรือไม่ เป็นไปในทางสร้างสรรค์ ยกระดับจิตใจ ให้ผู้อ่านเกิดสติปัญญาหรือไม่ หรือผู้อ่านสามารถสรุปเรื่องทั้งหมดออกมาเป็นแนวความคิดรวบยอดได้ตรงตามที่ผู้แต่งต้องการสื่อมากแค่ไหน ทั้งหมดที่กล่าวมาคือการสับนิยายอย่างง่ายๆ หรือก็คือพื้นฐานการวิจารณ์วรรณกรรม การสับนิยายแต่ละเรื่องอยู่ที่ลีลาของแต่ละคน ไม่จำเป็นต้องตายตัว การจบการสับที่ดีคือ สอดแทรกหรือเสนอแนะความคิดเห็นส่วนตัวลงไปด้วย งานเขียนไม่ใช่สิ่งที่ควรอ่านเพื่อฆ่าเวลาหรือหาความเพลิดเพลินเพียงอย่างเดียว การอ่านแบบนั้นเป็นเสมือนเลือกกินแต่น้ำมะพร้าวเท่านั้น และทิ้งเนื้ออันอ่อนนุ่มและหวานละมุนไปเสีย.. เรื่องที่อ่านทุกเรื่องไม่ว่าดีหรือแย่ ได้ให้ประโยชน์แก่ทุกคนไม่ว่าทางตรงหรืออ้อม เรื่องแย่จะให้เราได้สังเกตเห็นข้อบกพร่อง เรื่องดีคือตัวอย่างที่ควรเอาเยี่ยงอย่าง หวังว่าการเสนอแนะเทคนิคการสับนิยายในครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์แก่น้องๆ ไม่มากก็น้อย   อ่านน้อยลง

    Ploy_brabrabra | 3 ก.ค. 59

    • 3

    • 2

    "การใช้คำ"

    (แจ้งลบ)

    การใช้คำถือว่ายังไม่ถือว่าดีเท่าไหร่นะครับ ควรตัดคำพูดบ้างอะไรบ้าง การเล่าสถานะการณ์บางครั้งก็ไม่จำเป็นเลยครับ เพราะบทพูดคุณดีอยู่แล้ว การที่เพิ่มคำพูดอธิบายลงไปทำให้เรื่องน่าเบื่อขึ้น (ความเห็นส่วนตัวนะ)แต่การเล่นมุขถือว่ามีความเป็นธรรมชาติดีในระดับหนึ่ง แต่ผมก็อ่านเพลินดีถึงมันจะแปลกๆ ไปนิดก็เถอะ ขอบคุณครับ อ่านเพิ่มเติม

    การใช้คำถือว่ายังไม่ถือว่าดีเท่าไหร่นะครับ ควรตัดคำพูดบ้างอะไรบ้าง การเล่าสถานะการณ์บางครั้งก็ไม่จำเป็นเลยครับ เพราะบทพูดคุณดีอยู่แล้ว การที่เพิ่มคำพูดอธิบายลงไปทำให้เรื่องน่าเบื่อขึ้น (ความเห็นส่วนตัวนะ)แต่การเล่นมุขถือว่ามีความเป็นธรรมชาติดีในระดับหนึ่ง แต่ผมก็อ่านเพลินดีถึงมันจะแปลกๆ ไปนิดก็เถอะ ขอบคุณครับ  

    Lucky_Day | 4 ก.ค. 59

    • 2

    • 0

    ดูทั้งหมด

    คำนิยมล่าสุด

    "การใช้คำ"

    (แจ้งลบ)

    การใช้คำถือว่ายังไม่ถือว่าดีเท่าไหร่นะครับ ควรตัดคำพูดบ้างอะไรบ้าง การเล่าสถานะการณ์บางครั้งก็ไม่จำเป็นเลยครับ เพราะบทพูดคุณดีอยู่แล้ว การที่เพิ่มคำพูดอธิบายลงไปทำให้เรื่องน่าเบื่อขึ้น (ความเห็นส่วนตัวนะ)แต่การเล่นมุขถือว่ามีความเป็นธรรมชาติดีในระดับหนึ่ง แต่ผมก็อ่านเพลินดีถึงมันจะแปลกๆ ไปนิดก็เถอะ ขอบคุณครับ อ่านเพิ่มเติม

    การใช้คำถือว่ายังไม่ถือว่าดีเท่าไหร่นะครับ ควรตัดคำพูดบ้างอะไรบ้าง การเล่าสถานะการณ์บางครั้งก็ไม่จำเป็นเลยครับ เพราะบทพูดคุณดีอยู่แล้ว การที่เพิ่มคำพูดอธิบายลงไปทำให้เรื่องน่าเบื่อขึ้น (ความเห็นส่วนตัวนะ)แต่การเล่นมุขถือว่ามีความเป็นธรรมชาติดีในระดับหนึ่ง แต่ผมก็อ่านเพลินดีถึงมันจะแปลกๆ ไปนิดก็เถอะ ขอบคุณครับ  

    Lucky_Day | 4 ก.ค. 59

    • 2

    • 0

    "yarkkk"

    (แจ้งลบ)

    นิยายคืออะไร นิยายคือ ??? นิยาย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของนิยายไว้ว่า หมายถึงเรื่องที่เล่าต่อกันมา หมายถึงความไม่แน่นอนหรือไม่ใช่ความจริงทั้งหมด มีการแต่งเติมเสริมต่อบางตอนเรื่องราวนั้นจะต่างไปจากชีวิตจริง เช่น เกิดเป็น ลูกสัตว์แล้วมาใช้เวทย์มนต์คาถาให้กลายเป็นมนุษย์ได้ในภายหลัง เป็นต้น จากความหมายของนิทาน ตำนาน น ... อ่านเพิ่มเติม

    นิยายคืออะไร นิยายคือ ??? นิยาย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของนิยายไว้ว่า หมายถึงเรื่องที่เล่าต่อกันมา หมายถึงความไม่แน่นอนหรือไม่ใช่ความจริงทั้งหมด มีการแต่งเติมเสริมต่อบางตอนเรื่องราวนั้นจะต่างไปจากชีวิตจริง เช่น เกิดเป็น ลูกสัตว์แล้วมาใช้เวทย์มนต์คาถาให้กลายเป็นมนุษย์ได้ในภายหลัง เป็นต้น จากความหมายของนิทาน ตำนาน นิยาย ดังกล่าวข้างต้น จะเห็นว่ามีความคล้ายคลึงกัน จนบางครั้งแยกกันไม่ออกและมีนิยาย ตำนาน นิทานพื้นบ้านอยู่มากมาย ในปัจจุบันเราใช้คำว่านิยายเพื่อเรียกเรื่องราวที่มีผู้แต่งขึ้น อาจจะอิงหลักความเป็นจริงหรือไม่ก็ตาม นิยายมีหลากหลายประเภท เช่น 1. นวนิยายรัก ( Romance fiction ) เป็นนิยายที่เน้นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นแกนกลางของเรื่อง จะเน้นความรู้สึกของตัวละครเป็นสำคัญ นิยายแนวนี้เป็นที่นิยมมากในตลาดและพลอตเกี่ยวกับความรักนี้ก็เกือบจะแทรกเข้าไปในนิยายทุกประเภท 2. นวนิยายลึกลับ ( Mystery fiction ) จะเน้นการสืบสวนสอบสวน มีการคลายปมปัญหาเป็นหลัก 3. นวนิยายสยองขวัญ (Horror fiction) เป็นนิยายเกี่ยวกับสัตว์ประหลาด ปีศาจ สัตว์ร้าย ที่พอเวลาผู้อ่านได้อ่านแล้ว จะเกิดความสยดสยอง ขยะแขยงในความน่ากลัว 4. นวนิยายวิทยาศาสตร์ ( Sciences fiction ) เป็นการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาเป็นแกนกลางในการสร้างเรื่อง เช่นการทำลองวิจัย การโคลนนิ่งมนุษย์ นิยายแนวนี้จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่อง นั้น ๆ ถึงจะสามารถแต่งได้ ผู้เขียนต้องทำการบ้านมาเป็นอย่างดี 5. นวนิยายมหัศจรรย์ ( Fantasy fiction) หรือบางคนอาจจะเรียกว่านิยายแนวแฟนตาซี จะมีการใช้เทพต่าง ๆ มาใช้ในการสร้างเรื่อง รวมทั้งเรื่องที่เกิดความศรัทธา อภินิหาร ตำนวน เรื่องราวที่เหนือธรรมชาติ นิยายแนวนี้มักจะมีการผสมผสานระกว่างความมหัศจรรย์กับวิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน จนกลายเป็นนิยายประเภท sciences fantasy ขึ้นมา 6. นวนิยายแนวกามารมณ์ ( Erotica fiction) เป็นนิยายที่เน้นอารมณ์และความรู้สึก ซึบซับไปกับการบรรยายที่เป็นธรรมชาติ และเขียนถึงฉากกามารมณ์มากเป็นพิเศษในเรื่อง 7. นวนิยายที่สะท้อนปัญหาสังคม เป็นนิยายที่เน้นการแก้ไขปัญหาของสังคม สอดแทรกคติธรรมเข้ามา แสดงความคิดเห็นของตัวละครลง ไม่จำเป็นต้องบอกทางแก้ อยู่ที่ว่าผู้เขียนอาจจะใส่ทางแก้ไขของปัญหาลงไปหรือไม่   อ่านน้อยลง

    yarrock | 4 ก.ค. 59

    • 1

    • 0

    ดูทั้งหมด

    ความคิดเห็น