goodluck12
ดู Blog ทั้งหมด

ออกพรรษาอีสาน

เขียนโดย goodluck12
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">คนทั่วไปย่อมรู้จักคำว่า ประเพณี <span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp;</span>คุ้นเคยกับคำนี้แทบจะทุกเพศทุกวัย ในชีวิตของแต่ละคนเกี่ยวข้องกับประเพณีตั้งแต่เกิดไปจนกระทั่งตาย<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>แต่อาศัยที่คนเราเกี่ยวดองกับประเพณีอยู่เนือง ๆ ก็มักจะเกิดความชินชาและเฉยชาที่จะสนใจสาระสำคัญของประเพณี แต่จะให้ความสนใจและเห็นความสำคัญต่อพิธีกรรมหรือ กิจกรรมแห่งประเพณีนั้นมากกว่า</span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">การประกอบพิธีกรรมเป็นการถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ๆ ให้แก่คนรุ่นต่อมา โดยได้มีการหาวิธีการที่คิดว่าเหมาะสมที่สุดที่จะสื่อความหมายต่ออำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายได้ และตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาก็ได้เพิ่มความซับซ้อนมากขึ้นจนกลลายเป็นพิธีกรรมไปในที่สุด<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>การประกอบประเพณี พิธีกรรมตามความเชื่อของชาวไทย มีปรากฏอยู่ในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ กันในรอบปีและชาวบ้านในแต่ละชุมชนก็ได้ถือปฏิบัติซ้ำ ๆ กันเมื่อถึงช่วงเวลาที่เคยประกอบพิธีกรรมในรอบปีที่ผ่านมา เช่น ประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง ที่จังหวัดสกลนคร<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>ประเพณีไหลเรือไฟ<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>ที่จังหวัดนครพนม และประเพณีชักพระ<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี <span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp;</span>ซึ่งประเพณีเหล่านั้นได้จัดตามความเชื่อเรื่องการเสด็จกลับจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ภายหลังจากเสด็จขึ้นไปเทศนาโปรดพุทธมารดาขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp;&nbsp; </span>งานประเพณีทั้งหมดนั้น จัดเป็นงานประเพณี เนื่องในเทศกาลออกพรรษาตามคติชาวพุทธศาสนา<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span></span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">ประเพณีในเดือนสิบเอ็ดหรือเทศกาลออกพรรษา คือวันที่พระภิกษุจำพรรษาครบ 3 เดือน เรียกว่า ไตรมาส ตามพุทธบัญญัติ ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 (ประมาณเดือนตุลาคม) ในวันออกพรรษานี้ในส่วนที่เป็นพิธีของสงฆ์จะมีการทำพิธีปวารณาต่อกัน คือต่างรูปต่างกล่าวปวารณาตามลำดับอาวุโส<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>คำปวารณามีใจความว่า &ldquo;ข้าพเจ้าขอปวารณาต่อสงฆ์ ด้วยได้เห็นก็ดี<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>ด้วยได้ฟังก็ดี<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>ด้วยสงสัยก็ดี<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>ขอท่านทั้งหลายจงอาศัยความ กรุณาว่ากล่าวข้าพเจ้าเมื่อข้าพเจ้าสำนึกได้จักทำคืนเสีย แล้วจะสำรวมระวังต่อไป&rdquo;<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp;&nbsp; </span>ในส่วนของชาวบ้านจะมีการทำบุญตักบาตรเหมือนกันโดยทั่วไป และในบางแห่งก็จะจัดให้มีการตักบาตรเทโวเพื่อบูชาองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า</span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">บุญประเพณีในวันออกพรรษาที่เชื่อกันว่าเป็นการต้อนรับพระพุทธองค์เสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีการปฏิบัติต่างกันไปตามท้องถิ่น ในภาคอีสานมีงานบุญจุดประทีป ปล่อยเรือไฟและต้นดอกเผิ่ง เป็นพุทธบูชาแด่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในวันเพ็ญ 15 ค่ำ เดือน 11</span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">การแห่ปราสาทผึ้ง เป็นประเพณีโบราณอีสาน มุ่งทำเป็นพุทธบูชา หรือเกี่ยวข้อง กับความเชื่อทางศาสนา คำว่า &quot;ปราสาทผึ้ง&quot; ในภาษาอีสานจะออกเสียง &quot;ผาสาทเผิ่ง&quot; งานแห่ปราสาทผึ้งในเทศกาลออกพรรษาของชาวอีสาน ช่วงเวลา เทศกาลวันออกพรรษา วันขึ้น ๑๕<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>ค่ำ เดือน ๑๑ แม้ว่าจะมีอยู่ทั่วไปในหลายจังหวัด แต่ก็ไม่จัดใหญ่โตและปฏิบัติต่อเนื่องเช่นของเมืองสกลนคร</span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">ชาวสกลนครมีการฉลองเทศกาลออกพรรษาที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ซึ่งแตกต่างจากจังหวัดอื่น ๆ ด้วยการสร้าง </span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">&ldquo; <span lang="TH">ปราสาทผึ้ง </span>&rdquo;<span lang="TH"> ถวายเป็นพุทธบูชาโดยยึดคติความเชื่ออยู่ 2 กระแส คือที่อยู่อาศัยเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ของสิ่งมีชีวิต ดังนั้นเวลา หากเป็นที่ประทับของ พระราชาก็เรียกว่า พระราชวัง ถ้าเป็นที่อยู่ของเศรษฐีก็เรียกว่า คฤหาสน์ ส่วนสถานที่จำพรรษาของพระภิกษุสามเณร นิยม เรียกว่า กุฏิ สำหรับที่อยู่ของคนธรรมดาสามัญพากันเรียกว่า &quot;บ้าน&quot;<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp;&nbsp; </span>ส่วนความเชื่ออีกกระแสหนึ่ง สืบเนื่องมาจากครั้งพุทธกาลได้มีพระภิกษุชาวโกสัมพีเกิดทะเลาะวิวาทกัน ระหว่างพระธรรมธรฝ่ายหนึ่งกับพระวินัยธรอีกฝ่ายหนึ่ง แม้พระพุทธองค์ทรงตักเตือนสักเท่าใดก็ไม่ฟัง จึงเสด็จหนีความรำคาญเหล่านั้นไปพักอยู่ที่ป่ารักขิตวัน ซึ่งที่ป่านั้นมีพญาช้างและพญาวานรคอยเป็นอุปัฏฐากพระพุทธองค์ โดยพญาช้างมีหน้าที่ตักน้ำ ส่วนพญาวานรเป็นผู้หาผลไม้มาถวายเป็นประจำตลอดพรรษา อยู่มาวันหนึ่งพญาวานรได้ไปพบรวงผึ้งบนต้นไม้เข้า จึงเก็บมาถวายแด่พระพุทธเจ้า เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับรวงผึ้งนั้นแล้วทำให้พญาวานรดีใจมาก ถึงกับกระโดดโลดแล่นไปบนต้นไม้กระโจน ไปมาบนคาคบ เกิดพลาดพลัดตกลงมาถึงแก่ความตาย ด้วยอานิสงส์จากการได้ถวายรวงผึ้งแด่พระพุทธเจ้า ทาให้พญาวานรได้ไปเกิดเป็นพรหมบนสวรรค์ด้วยความเชื่อทั้งสองกระแสจึงเป็นที่มาของประเพณีปราสาทผึ้ง</span><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">อย่างไรก็ดีในสาระของความต้องการบุญกุศลส่วนตัวดังกล่าวมาแล้วยังมีสาระที่ต้องการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้วายชนม์ ซึ่งอาจได้มาจากคติของชาวจีนที่ทามาหากินในสกลนคร ที่ทำการตัดเป็นรูปทรงบ้านเรือนอาคารเผาอุทิศให้ผู้ตาย แต่หากดัดแปลงเป็นการสร้างอาคารเป็นทรงหอผี ประดับด้วยดอกผึ้งถวายพระสงฆ์อุทิศให้ผู้วายชนม์การทำปราสาทผึ้งส่วนมากในอีสานนิยมทำกันมาแต่โบราณด้วยเหตุผลหรือคติที่ว่า</span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><font color="#000000">1. <span lang="TH">เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว</span><o:p></o:p></font></span></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><font color="#000000">2. <span lang="TH">เพื่อตั้งความปรารถนาไว้หากเกิดในภพมนุษย์ขอให้มีปราสาทราชมณเฑียรอาศัยอยู่ด้วยความมั่งมีศรีสุข ถ้าเกิดในสวรรค์ขอ ให้มีปราสาทอันสวยงาม มีนางฟ้าแวดล้อมเป็นบริวารจานวนมาก</span><o:p></o:p></font></span></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><font color="#000000">3. <span lang="TH">เพื่อรวมพลังสามัคคีทำบุญร่วมกัน พบปะ สนทนากัน</span><o:p></o:p></font></span></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><font color="#000000">4. <span lang="TH">เพื่อเป็นการประกาศหลักศีลธรรม ทางบุญทางกุศลให้ปรากฏโดยชาวคุ้มวัดต่าง ๆ ร่วมข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน บริจาคเงินตามศรัทธาพร้อมกัน ทำปราสาทผึ้ง กำหนดเอาวันเทศกาลออกพรรษาเป็นวันจัดงาน วันแรกแข่ง เรือ วันที่สองแห่ปราสาทผึ้ง วันที่สามทำบุญออกพรรษา กลางคืนมีการสมโภชตามสมควร</span><o:p></o:p></font></span></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt;">
<font color="#000000"><u><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">ปราสาทผึ้งของจังหวัดสกลนคร ได้พัฒนารูปแบบของการทำปราสาทผึ้ง ออกเป็น 3 ระยะดังนี้คือ</span></u><u><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p></o:p></span></u></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">1) ระยะแรกยุคต้นผึ้งหรือหอผึ้ง เป็นต้นกำเนิดของปราสาทผึ้งในปัจจุบัน ทำจากต้นกล้วย ตัดให้ยาวพอสมควรทำขาหยั่งสามขายึดต้นกล้วยเข้าไว้ จากนั้นจะนำขี้ผึ้งมาเคี่ยวให้หลอมเหลวใส่ลงในแม่พิมพ์ เรียกว่า &ldquo;ดอกผึ้ง&rdquo; แล้วนำมาติดที่ก้านกล้วยหรือกาบกล้วย ซึ่งต่อมาได้ทำเป็นหอผึ้ง มีลักษณะเป็นทรงตะลุ่ม ทำโครงด้วยไม้ไผ่ผูกเสริมด้วยกาบกล้วย ก้านกล้วย จะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมสองชั้น ต่อกันคล้ายเอวขันธ์หรือเอวพาน การตกแต่ง ยังนิยมประดับด้วยดอกผึ้ง ตามโครงกาบกล้วย</span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">2.) ระยะที่สองยุคปราสาทผึ้งทรงหอ-ทรงสิมหรือศาลพระภูมิ ได้มีพัฒนาการทำโครงเป็นโครงด้วยไม้ โดยใช้ไม้เนื้ออ่อนทำเป็นเสาสี่ต้น พันด้วยกระดาษสี เครื่องบนทำเป็นหลักคล้ายหมาก แต่งหน้าจั่วด้วยหยวกกล้วยประดับดอกผึ้ง ในส่วนปราสาทผึ้งทรงสิมจะลดความสูงลง ทำหน้าจั่วทรงจัตุรมุขตามแบบสิมพื้นบ้านของภาคอีสาน โดยทั่วไปการประดับตกแต่งใช้วิธีการแทงหยวกประดับป้านลม ช่อฟ้า ใบระกา ด้วยดอกผึ้งตามส่วนต่าง ๆ</span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">3) ยุคปราสาทผึ้งเรือนยอด เป็นการทำปราสาทผึ้ง โดยการพัฒนารูปแบบลวดลายองค์ประกอบให้วิจิตรพิสดารยิ่งขึ้น ด้วยโครงไม้ ให้เป็นทรงปราสาทจตุรมุขมีเรือนยอดเรียวหรือที่เรียกว่า </span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">&ldquo;<span lang="TH">กฎาคาร</span>&rdquo; <span lang="TH">ตัวอาคารทั้งสี่ด้านต่อเป็นมุขยื่นออกไปมีขนาดเท่ากับบางแห่งสร้างปราสาทสามหลังติดกัน นอกจากนี้ยังเน้นความประณีตในการตกแต่งผึ้งให้งดงาม เช่นกำแพงแก้ว หน้าบัน ช่อฟ้าใบระกา นาคสะดุ้ง โดยใช้ศิลปกรรมไทยหรือผสมผสานระหว่างศิลปะอีสานกับไทยภาคกลาง เป็นการสร้างปราสาทที่เลียนแบบที่ประทับพระมหากษัตริย์ เพื่อถวายแด่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดับตกแต่งมีทั้งแบบหล่อแกะลาย และแบบติดพิมพ์สมัยใหม่</span><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">การแห่ปราสาทผึ้งจะมีอยู่ 2 ส่วน คือในวันขึ้น 14 ค่ำเดือน 11 จะเป็นการนำปราสาทผึ้งไปชุมนุมกันเพื่อฉลองคบงัน 1 วัน 1 คืน ในวันรุ่งขึ้น เป็นวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11จะเป็นวันแห่ปราสาทผึ้งไปทอดถวาย ณ วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร ซึ่งจะมีขบวนแห่อย่างสวยงาม ประกอบด้วยการแสดงพื้นบ้านต่าง ๆ ของสภาวัฒนธรรมอำเภอทุกอำเภอ เช่น การแต่งกาย 6 เผ่า การรำมวยโบราณการฟ้อนถูไท(ผู้ไทย) การแสดงดนตรีพื้นเมืองการแสดงถึงวิถีชีวิตของคนสกลนครซึ่งเป็นประเพณีที่มีความสนุกสนานแต่ในขณะเดียวกันได้แสดงออกถึงความเชื่อในพระพุทธศาสนาเป็นสำคัญและถือเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของจังหวัด สกลนคร</span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><font color="#000000">งานบุญประเพณีในเทศกาลออกพรรษา ซึ่งมีการทำบุญต่าง ๆ ในวันออกพรรษาทุกท้องถิ่นตามคติความเชื่อในพระพุทธศาสนา เรื่องพระพุทธองค์เสด็จจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หลังจากทรงขึ้นไปโปรดพระพุทธมารดาเป็นเวลา 1 พรรษานั้น มีความแตกต่างกันไปแต่ละถิ่นที่ <span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp;</span>แต่มีประเพณีปฏิบัติเหมือนกันทุกแห่ง เมื่อออกพรรษาแล้วจะมีการทำบุญทอดกฐิน ตามวัดต่าง ๆ <o:p></o:p></font></span></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p><font color="#000000">&nbsp;</font></o:p></span></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><o:p><font color="#000000">&nbsp;</font></o:p></span></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt;">
<u><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;"><font color="#000000">อ้างอิงจาก<o:p></o:p></font></span></u></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">พิเชนทร์<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>จันทร์ปุ่ม. ศาสนาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดสกลนคร. สกลนคร</span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">: <span lang="TH">มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, ๒๕๕๑.</span><o:p></o:p></span></font></p>
<p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt;">
<font color="#000000"><span lang="TH" style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">สุรเชษฐ์<span style="mso-spacerun: yes;">&nbsp; </span>งิ้วพรหม. เที่ยวสนุกเมืองอีสานสกลนคร. นนทบุรี</span><span style="line-height: 115%; font-family: &quot;Browallia New&quot;,&quot;sans-serif&quot;; font-size: 16pt;">: <span lang="TH">ธิงค์บียอนด์ บุ๊ค, ๒๕๕๖<o:p></o:p></span></span></font></p>

ความคิดเห็น

ยังไม่มีความคิดเห็น