แนวการสอนกฎหมายลักษณะหนี้ - แนวการสอนกฎหมายลักษณะหนี้ นิยาย แนวการสอนกฎหมายลักษณะหนี้ : Dek-D.com - Writer

แนวการสอนกฎหมายลักษณะหนี้

กฎหมายลักษณะหนี้ (Obligations of Law)

ผู้เข้าชมรวม

2,183

ผู้เข้าชมเดือนนี้

0

ผู้เข้าชมรวม


2.18K

ความคิดเห็น


0

คนติดตาม


1
เรื่องสั้น
อัปเดตล่าสุด :  25 ก.ย. 52 / 09:29 น.


ข้อมูลเบื้องต้นของเรื่องนี้

 คำอธิบายรายวิชา

บทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยหนี้ในเรื่องที่เกี่ยวกับบ่อเกิดแห่งหนี้ วัตถุแห่งหนี้ ผลแห่งหนี้ ลูกหนี้และเจ้าหนี้หลายคน การโอนสิทธิเรียกร้องและความระงับแห่งหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 2 ลักษณะ 1

ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ


    มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

    ภาคเรียนที่   1/2550                     แนวการสอน                        ปีการศึกษา 2550

    รหัสวิชา

    ชื่อวิชา

    หน่วยกิต (ท-ป-อ)

    2561103

    กฎหมายลักษณะหนี้

    Obligations of Law

    3(3-0-6)

    อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ธนา ..........................

     คำอธิบายรายวิชา

    บทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยหนี้ในเรื่องที่เกี่ยวกับบ่อเกิดแห่งหนี้ วัตถุแห่งหนี้ ผลแห่งหนี้ ลูกหนี้และเจ้าหนี้หลายคน การโอนสิทธิเรียกร้องและความระงับแห่งหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 2 ลักษณะ 1

    วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    ด้านความรู้ ความคิด

    1.       นักศึกษารู้ถึงการเกิดหนี้อันเป็นพื้นฐานของความผูกพันเกี่ยวกับสิทธิหน้าที่ของบุคคลในทางแพ่ง

    2.       นักศึกษาเข้าใจถึงสิทธิและหน้าที่ของเจ้าหนี้และลูกหนี้ รวมถึงผู้เกี่ยวของอื่น ๆ

    ด้านทักษะ / กระบวนการ

    1.       นักศึกษาสามารถตอบคำถาม และทำแบบฝึกหัดที่อาจารย์มอบหมายให้ได้

    ด้านคุณลักษณะ / เจตคติ

    1.     นักศึกษามีความสามารถนำเอาหลัก ข้อยกเว้นและข้อยกเว้นของข้อยกเว้น ไปปรับใช้เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมระหว่างคู่กรณีแห่งหนี้และผู้เกี่ยวข้องได้ เป็นการลดข้อพิพาทที่จะเข้าสู่กระบวนการทางศาล

     เนื้อหา

    สัปดาห์ที่

    เนื้อหา

    กิจกรรม

    1

    o      ชี้แจงเนื้อหาของวิชา

    o      แจ้งเกณฑ์การวัดผล

    o      เก็บข้อมูลเบื้องต้นของนักศึกษา

    - แจกคำอธิบายรายวิชา

    - ให้นักศึกษาจัดทำข้อมูลเบื้องต้นของตนเอง

    - การให้ศึกษาด้วยตนเอง จากตำราเรียนหลักก่อนการเรียน

     

    2

    o                     บ่อเกิดแห่งหนี้

    §       นิติกรรม

    §       ละเมิด

    §       จัดการงานนอกสั่ง

    §       ลาภมิควรได้

    §       ผลของกฎหมาย

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    3

    o      วัตถุแห่งนี้

     

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    4

    o      ผลแห่งหนี้

    §       การไม่ชำระหนี้

    §       การรับช่วงสิทธิ

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    5

    o      ผลแห่งหนี้ (ต่อ)

    §       การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้

    §       การรับช่วงสิทธิ

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    6

    o      ผลแห่งหนี้ (ต่อ)

    §       การเพิกถอนกลฉ้อฉล

    §       สิทธิยึดหน่วง

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    7

    o      ผลแห่งหนี้ (ต่อ)

    §       บุริมสิทธิ

    §       บุริมสิทธิสามัญ

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    8

    o      ผลแห่งหนี้ (ต่อ)

    §       บุริมสิทธิพิเศษ

    §       บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์

    §       บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    9

    o      ผลแห่งหนี้ (ต่อ)

    §       ลำดับแห่งบุริมสิทธิ

    §       ผลแห่งบุริมสิทธิ

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    10

    o      ลูกหนี้และเจ้าหนี้หลายคน

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    11

    o      โอนสิทธิเรียกร้อง

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    12

    o      ความระงับแห่งหนี้

    §       การชำระหนี้

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    13

    o      ความระงับแห่งหนี้ (ต่อ)

    §       ปลดหนี้

    §       หักกลบลบหนี้

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    14

    o      ความระงับแห่งหนี้ (ต่อ)

    §       การแปลงหนี้ใหม่

    §       หนี้เกลื่อนกลืนกัน

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    15

    สรุปเนื้อหาโดยรวมของรายวิชา

    - บรรยาย ยกตัวอย่าง

    - ถาม ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจในชั้นเรียน

    16

    สอบปลายภาค

    สอบปลายภาค

     

     

     

    การวัดและประเมินผล

    การวัดผล             1. คะแนนสอบปลายภาค     100     คะแนน

                    เกณฑ์การประเมินผล

                                    ร้อยละ 90 ขึ้นไป                  ระดับคะแนน       A

                                                    85 – 89                 ระดับคะแนน       B+

                                                    75 – 84                 ระดับคะแนน       B            

                                                    70 – 74                 ระดับคะแนน       C+

                                                    60 – 69                  ระดับคะแนน       C

                                                    55 – 59                 ระดับคะแนน       D+

                                                    50 – 54                 ระดับคะแนน       D

                                                     0 – 49                  ระดับคะแนน       E

     

    เอกสารอ้างอิง

    1.       ความรับผิดและค่าเสียหายคดีแพ่ง , ผู้แต่ง : สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

    2.       คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ :หนี้  , ผู้แต่ง : สุนทร มณีสวัสดิ์

    3.       คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะจัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้ , ผู้แต่ง : สุษม ศุภนิตย์

    4.       คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะละเมิด  , ผู้แต่ง : สุษม ศุภนิตย์

    5.       ต่อยอดตัวบท ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้ , ผู้แต่ง : อดิศัลย สุขเกษม

    6.       หลักกฎหมาย หนี้ (PRINCIPLE OF LAW OBLIGATION) (ฉบับปรับปรุงใหม่) , ผู้แต่ง : ภัทรศักดิ์ วรรณแสง

    7.       หลักกฎหมายแพ่งลักษณะหนี้  , ผู้แต่ง : จิ๊ด เศรษฐบุตร  และคณะ

    8.       กลยุทธ์พิชิตชีวิตหนี้  , ผู้แต่ง : ลุงแจ่ม และคณะ

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    คำนิยม Top

    ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

    คำนิยมล่าสุด

    ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

    ความคิดเห็น

    ×