ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    Sakura Hana House ภาษาญี่ปุ่น น่ารู้ ง่าย ๆ

    ลำดับตอนที่ #52 : nihongo yoroshiku 7

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 1.62K
      0
      20 ก.ย. 51

    บทสนทนา 7
    すずき : ナロンさんのじゅぎょうは 何時からですか。
    ナロン : まいにち 8時からです。
    すずき : じゃ、何時に おきますか。
    ナロン : 6時半に おきです。
    すずき : じゅぎょうは 何時に おわりますか。
    ナロン : きょうは きんようびですね。きんようびのじゅぎょうは 3時半ごろ おわります。ぎんこうのしごとも 3時半に おわりますね。
    すずき : いいえ。ぎmmこうは 3時半までです。 でも、わたしのしごとはゆうがた 5時までです。
    ナロン : そうですか。 あさ 何時に はじまりますか。
    すずき : ぎんこうは 9時半からです。 でも、わたしのしごとは 8時からはじまります。
    ナロン : へぇ…...。たいへんですね。
     
    __________________________________________________
     
    やまだ  : ラリターなんのべんきょうは なんようびまでですか。
    ラリター : きんようびまでです。やまだなんのおしごとは?
    やまだ  : わたしのしごとも きんようびまでです。
    ラリター : じゃ、あしたは 休みですね。1を しますか。
    やまだ  : あしたですか。あした えいがを 見ます。ラリターなんは?
     
    ラリター : わたしは せんたくを します。 そして、しゅくだいを します。
    やまだ  : 2のしゅくだいですか。
    ラリター : えいごと 日本語のじゅきだいです。
    やまだ  : たいへんですね。
     
    1(なに)
    2(なん)
     
    คำศัพท์ใหม่

    おきます
    ตื่น
    เมื่อไร่
    ねます
    นอน
    (やす)み
    วันหยุด เวลาพัก
    じまります
    เริ่ม
    ちようび
    วันอาทิตย์
    わります
    จบ หมด เสร็จสิ้น
    つようび
    วันจันทร์
    ます
    ทำ
    ようび
    วันอังคาร
    (み)ます
    ดู
    いようび
    วันพุธ
    あきます
    เปิด
    くようび
    วันพฤหัสบดี
    しまります
    ปิด
    んようび
    วันศุกร์
    きょ
    วันนี้
    じゅきょう
    ชั่วโมงเรียน
    した
    พรุ่งนี้
    しゅくだい
    การบ้าน
    さって
    มะรืนนี้
    いが
    ภาพยนตร์
    いにち
    ทถกวัน
    んたく
    การซักผ้า
    いあさ
    ทุกเช้า
    セミナ
    การสัมมนา
    いばん
    ทุกคืน
    レストラン
    ร้านอาหาร ภัตตาคาร
    ぜん
    ช่วงเช้า a.m.
    して
    แล้วก็
    ช่วงบ่าย p.m.
    デオ
    วิดีโอ
    เช้า
    うじ
    การทำความสะอาด
    กลางวัน ตอนเที่ยง ๆ
    んどう
    การออกกำลังกาย
    うがた
    ตอนเย็น
    いえい
    การว่ายน้ำ
    กลางคืน
    ーティー
    งานเลี้ยง
    なか
    กลางดึก
    ドラマ
    ละคนทีวี
    んばん
    คืนนี้
     

    คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
    คำนามหรืออาการนามที่ใช้กับกริยา します

    しゅう
    การเตรียมบทเรียนล่วงหน้า
    りょこう
    การท่องเที่ยวทัศนาจร
    くしゅう
    การทบทวนบทเรียน
    しゅくだい
    การบ้าน
    んしゅう
    การฝึกหัด การฝึกซ้อม
    りょうり
    อาหาร
    ごと
    งาน
    しょくじ
    การรับประทานอาหาร
    うじ
    การทำความสะอาด
    งานบ้าน
    んたく
    การซักผ้า
    んぼ
    การเดินเล่น
    んどう
    การออกกำลังกาย
     

    คำอธิบายไวยากรณ์
    1. ประโยคกริยาในภาษาญี่ปุ่น
                คำกริยาที่เป็นภาคแสดงของประโยคจะวางอยู่ท้ายประโยคเสมอ ส่วนประกอบอื่น เช่น ประธาน หรือ ผู้ทำกริยา เวลาที่ทำกริยา สถานที่ที่เกิดกริยา กรรมของกริยา ฯลฯ จะวางเรียงอยู่ก่อน โดยมีคำช่วยต่าง ๆ กำหับอยู่ข้างหลัง เพื่อชี้หน้าที่ของนามที่มีต่อกริยา ดังโครงสร้างต่อไปนี้
     
    ลำดับของส่วนประกอบต่าง ๆ อาจวางสลับที่กันได้ตามน้ำหนักความสำคัญที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ อย่างก็ตาม คำช่วยที่กำกับอยู่ก็ต้องยกตามไปด้วยเช่นกัน
     
    2. คำกริยา
                คำกริยาในภาษาญี่ปุ่นนั้น เมื่อนำมาใช้จะผันเป็นรูปต่าง ๆ รูปที่จะเสนอในตอนนี้เป็นกริยาที่อยู่ในรูป ~ます หรือเรียกว่า ~ますForm รูปนี้ใช้เป็นถาคแสดงท้ายประโยค เช่น
                おきます   = ตื่นนอน
                ねます    = นอน
                はじまります = เริ่ม
                おわります  = จบ เสร็จสิ้น
     
                รูปนี้เป็นรูปสุภาพคล้ายกับการพูด ครับ/ค่ะ ในภาษาไทย ส่วนเรื่องกาล (tense) นั้นรูป ~ます จะเป็นรูปปัจจุบันที่เป็นกิจวัตรประจำวัน ความจริงทั่วไป หรือรูปอนาคต เช่น
                おきます = จะตื่น (อนาคต)
                おきます = ตื่น (กิจวัตร)
     
    รูปปฏิเสธใช้ดันนี้

     
    รูปปัจจุบัน หรือ อนาคต
    บอกเล่า
    ~ます
    ปฏเสธ
    ~ません

    3. กาลวิเศษณ์ กับคำช่วย และ ごろ
             กาลวิเศษณ์ คือ คำที่แสดงว่ากริยาในประโยคนั้นเกิดขึ้นเมื่อใด เช่น 10時、どようび、あさ、よる เป็นต้น กาลวิเศษณ์เหล่านี้จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ คำที่ต้องใช้คำช่วย ตามหลัง และคำที่ไม่ใช้คำช่วย ตามหลัง

    1. กาลวิเศษณ์ที่ต้องใชคำช่วย ตามหลัง
    ได้แก่ คำบอกเวลามราชัดเจน เช่น 3 โมง วันเสาร์ วันที่ 5 เดือนเมษายน ปี 1995 เป็นต้น ใช้ในประโยคได้ดังนี้
     何時に おきますか。
     わたしは 10時に ねます。
     セムナーは どようびに おわります。
    หรืออาจจะใช้คำช่วย ごろ=ประมาณ ราว ๆ โดยละคำช่วย ก็ได้เช่น
     何時ごろ(に) おきます。
     11時ごろ(に)ねます。
     
    2. กาลวิเศษณ์ที่ไม่ใช้คำช่วย ตามหลัง
    ได้แก่คำบอกกว้าง ๆ เช่น เช้า เย็น หรือคำบอกเวลาที่เปลี่ยนไปตามเวลาที่พูด เช่น วันนี้ พรุ่งนี้ เดือนหน้า ปีที่แล้ว สัปดาห์ก่อน เป็นต้น

    คำบอกเวลาใน 1 วัน
    1. ごぜん = a.m. ごご = p.m.
    ใช้กับการบอกเวลาอย่างเป็นทางการ เช่น การรายงานข่าว
     
    2.ในภาษาพูด นิยมใช้คำดังนี้

    あさ = ตอนเช้า
    ひる   = ตอนเที่ยง ๆ กลางวัน
    ごご = ตอนบ่าย
    ゆうがた = ตอนเย็น
    よる = กลางคืน
    ゆなか  = กลางคืน

    หรือคำประเภท วันนี้ พรุ่งนี้ ซึ่งได้แก่
    วัน
    きょう
    วันนี้
    あした
    พรุ่งนี้
    あさって
    มะรืนนี้
    まいにち
    ทุกวัน
    เช้า
    -
    あしたのあさ
    พรุ่งนี้เช้า
    あさってのあさ
    เช้ามะรืนนี้
    まいあさ
    ทุกเช้า
    กลางคืน
    こんばん
    คืนนี้
    あしたのばん
    คืนพรุ่งนี้
    あさってのばん
    คืนทะรืนนี้
    まいばん
    ทุกคืน
    ใช้ในประโยคได้ดังนี้
                セムナーは あした はじまります。
             じゅぎょうは ごご おわります。
     
             เมื่อต้องการบอกเวลาที่ละเอียดย่อยลงไป เช่น 7 โมงเช้าพรุ่งนี้ตอนบ่าย 3 โมง จะเรียงดำลับจากหน่วยใหญ่ไปหาหน่วยเล็ก เช่น げつようび 8時、まいあさ 7
             กรณี วัน+ช่วง (เช้า เย็น ฯลฯ) ใช้ เชื่อม เช่น げつようびのあさ、あしたのごご
             เมื่อนำไปใช้บอกเวลาของกริยาในประโยค จะใช้ กำกับหรือไม่ ให้ดูหน่วยเวลาหน่วนสุดท้ายเป็นหลัก เช่น
                じゅぎょうは ごご 4時半に おわります。
             かいぎは あしたの あさ はじまります。
             わたしは まいあさ 7時ごろ おきます。
             セミナーは げつとうびの あさ 8時に はじまります。
     
    4. วันในรอบสัปดาห์
                การเรียกวันในรอบสัปดาห์นั้น ให้เติมซื่อของแต่ละวันเข้าช้างหน้า ~ようびซึ่งมีความหมายว่า วัน~ เช่น

    にちようび
    วันอาเทิตย์
    もくようび
    วันพฤหัสบดี
    げつようび
    วันจันทร์
    きんようび
    วันศุกร์
    かようび
    วันอังคาร
    どようび
    วันเสาร์
    すいようび
    วันพุธ
    ?なんようび
    วันอะไร

    ·              なんようび จะมีความหมายง่า วันอะไรในรอบสัปดาห์ หากจะใช้ในความหมายว่าเป็นวันสำคัญอะไร จะต้องใช้คำว่า 何(なん)の日(ひ)ซึ่งคำตอบอาจจะเป็น วนเด็ก วันสงกรานต์ วันปีใหม่ เป็นต้น
     
    5. คำช่วย ชี้กรรม
                ในประโยคที่ใช้ชี้กรรมกริยา กรรมที่ปรากฏในประโยคจะใช้คำช่วย กำกับไว้ข้างหลัง เพื่อขี้นหน้าที่ของนามนั้น
    กรรม กริยา
    เช่น กริยา します= ทำ

    せんたく การซักผ้า : せんたくを します ซักผ้า
    しゅくだい การบ้าน : しゅくだいを します ทำการบ้าน
    りょうり อาหาร : りょうりを します ทำอาหาร

    กริยา 見ます = ดู มอง พบเห็น

    テレビ โทรทัศน์ : テレビを 見ます。 ดูโทรทัศน์
    ピデオ วิดีโอ : ピデオを 見ます。 ดูวิดีโอ
    えいが ภาพยนตร์ : えいがを 見ます。 ดูภาพยนตร์

    6. 何(なに)เป็นปุจฉาสรรพนาม หมายถึง อะไร
    เช่น     ごご 何を しますか。
             よる 何を 見ますか。
            
             บางครั้ง อาจเกิดการลดเสียง i ในคำว่า “nani” เหลือเพียง 何(なん)”nan” ดังที่ปรากฏในตอนก่อน ๆ เฃ่น
                あれは 何ですか。
                いま 何時ですか。
     
    7. การตอบปฏิเสธ
                ในการตอบปฏิเสธ อาจตอบด้วยคำว่า いいえ เท่านั้น หรือต่อด้วยคำชี้แจงอื่นด้วยก็ได้ เช่น
                A : あに人は 日本人ですか。
                B : いいえ。タイ人です。
    หรือ
                A : じゅぎょうは 9時からですか。
                B : いいえ。10時からです。
     
    8.
             เป็นคำที่ใส่ไว้ท้ายประโยค ใช้แสดงท่าทีหรือความรู้สึกของผู้พูดได้หลายแบบ ในตอนนี้ใช้ถามย้ำเพื่อให้แน่ใจ คล้ายคำว่า ใช่ไหมครับสินะครับ ครับ
                きょうは きんようびですね。   วันนี้วันศุกร์ใช่ไหมครับ / ค่ะ
                あしたは 休みですね。   พรุ่นนี้วันหยุดสินะครับ / ค่ะ
     
    9. ประโยค。 そして、ประโยค
             そして เป็นคำสันธานใช้เชื่อมประโยคหรือข้อมูลที่นำมากล้าวเสริม หรือเพิ่มเติมส่วนหนึ่งที่กล่าวมาข้างหน้า คล้ายคำว่า แล้วก็ ในภาไทย เช่น
    うけつけのないせんは 109です。そして、かいぎしつぃのは 104です。
    สายในของแพนกประชาสัมผัสหมายเลข 107 แล้วก็สายในห้องประชุมหมาบเลข 104
     
    あした えいがを 見ます。そして、かいものを します。
    พรุ่งนี้จะดูหนังแล้วก็จะซื้อของ
     
    えいがは 2時半に はじまります。そして、4時半ごろ おわります。
    หนังเริ่ม 2โมงครึ่งแล้วก็เลิกประมาณ 4 โมงครึ่ง
     
    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×