ที่มาของการพัฒนาแอพออกแบบโลโก้
เริ่มการเรียนการสอนวิชาออกแบบโลโก้ใหม่ๆ เป็นงานออกแบบสร้างสรรค์สำหรับสถานการณ์สมมุติ ในยุคปัจจุบันการออกแบบโลโก้ ได้เปลี่ยนรูปแบบใหม่ที่ดีกว่าเดิมโดยการสร้างแอปพลิเคชันสมมุติขึ้น โดยการออกแบบโลโก้ของแอพพลิเคชั่นนั้น เป็นจุดเริ่มต้นในจินตนาการถึงวิธีการใหม่ๆ ที่ดูไม่น่าจะเป็นไปได้ในการใช้งานอุปกรณ์ดิจิตอลของเรามันมีวิธีการมากมายที่ Application สามารถช่วยให้ชีวิตของพวกเราง่ายขึ้นสนุกมากขึ้น หรือแม้แต่ไร้สาระมากขึ้นนักออกแบบแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ มักจะเริ่มต้นด้วยการระดมความคิดถึงวิธีการใช้สมาร์ทโฟนในแนวทางใหม่ๆ ในขั้นตอนที่เป็นประโยชน์ก็คือการรับออกแบบโลโก้ มาเป็นตัวแทนที่แสดงให้เห็นถึงไอเดีย หลังจากนั้นจึงเริ่มร่าง Interface เพื่ออธิบายถึงวิธีการทำงานของ Application ด้วยกระบวนการเหล่านี้จะช่วยให้นักออกแบบและสร้างประสบการณ์ของผู้ใช้งาน ได้พัฒนาแบรนด์ของตนท่ามกลางโลกดิจิตอล และนำเสนอแนวคิดของผลิตภัณฑ์ก่อนที่จะนำไปสร้างเป็นต้นแบบที่สามารถใช้งานได้จริง
นักออกแบบและทดลองสมมติฐานด้านวัฒนธรรมเกี่ยวกับการออกแบบแอพพลิเคชั่นสมมติที่สามารถทำได้ทุกสิ่งอย่างที่ ทราบได้อธิบายว่าทัศนคติทางวัฒนธรรมนั้นมีโครงสร้างที่ตายตัวต้องการสร้างความเข้าใจในเอกลักษณ์เรื่องการออกแบบโลโก้ให้มากขึ้น
โลโก้เป็นสิ่งที่แสดงถึงชื่อของบริษัทหรือชื่อของผลิตภัณฑ์ที่ช่วยสร้างความน่าจดจำ โลโก้ใช้สื่อความหมายแบรนด์แบบอวัจนภาษา การเติบโตของสื่อบนหน้าจอทำให้เราเปลี่ยนแปลงแนวคิดเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของแบรนด์ เปิดรับแนวทางใหม่ๆ โดยส่วนใหญ่แล้วนักออกแบบโลโก้ตามโครงการตัวอย่างการพิมพ์ ระบบการพิมพ์ Concept เป็นการพิมพ์ที่ต้องใช้แผ่นเพจแยกกันไปตามแต่ละสีในกระบวนการพิมพ์สี cmyk มันจึงเป็นข้อจำกัดให้นักออกแบบโลโก้ต้องออกแบบการใช้สีเพียง 1 หรือ 2 สีเท่านั้นเนื่องจากการออกแบบหลายสีนะส่งผลให้งานพิมพ์มีราคาแพงเมื่อต้องการพิมพ์ใหม่อีกครั้งการออกแบบโลโก้ที่เรียบง่ายและราบเรียกมีอิทธิพลต่อรูปแบบของ Logo สมัยใหม่มานานหลายทศวรรษ โดจินๆ แล้วการใช้เอฟเฟคพิเศษอย่างการไล่สีและความโปร่งแสงในโลโก้เคยไม่เป็นที่ยอมรับก็ถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของความอ่อนแอและการออกแบบที่ไม่มีประสิทธิภาพ
ในช่วงทศวรรษ 1990 เครื่องมือและกระบวนการดิจิตอลใหม่ๆช่วยให้การออกแบบรวมทั้งการใช้แสงเงา เครื่องมือและกระบวนการดิจิตอลใหม่ๆช่วยให้การออกแบบรวมทั้งการใช้แสงเงาการ เครื่องมือและกระบวนการดิจิตอลใหม่ๆช่วยให้การออกแบบรวมทั้งการใช้แสงเงาการทำเส้นโค้งมนความ เครื่องมือและกระบวนการดิจิตอลใหม่ๆช่วยให้การออกแบบรวมทั้งการใช้แสงเงา การทำเส้นโค้งมน ความโปร่งแสง และการไล่สีที่หลากหลายเป็นเรื่องง่ายขึ้นรวมทั้งความแพร่หลายของการใช้อุปกรณ์ที่มีหน้าจอพลิกโฉมการออกแบบให้หลุดกรอบความเชื่อเดิมๆ ในขณะที่โลโก้ยังคงต้องการให้เข้าใจง่าย ตรงไปตรงมาและสามารถแปลงไปใช้กับสื่อที่หลากหลาย โลโก้ในปัจจุบันนั้นเต็มเปี่ยมไปด้วยสีสัน รายละเอียด การเคลื่อนไหว นักออกแบบปัจจุบันพยายามค้นหาความชัดเจน จุดประสงค์และความแปลกใหม่ให้กับตนเองในการสร้างผลงานออกแบบโลโก้ใหม่ๆที่ไม่ถูกจำกัดด้วยเงื่อนไขของการพิมพ์
โลโก้ส่วนใหญ่สร้างขึ้นโดยใช้สีขาวและสีดำมานานกว่าทศวรรษ การใส่สีเพิ่มเข้าไปอีกสีหนึ่งจะทำให้โลโก้ดูหรูหราขึ้น แต่ในปัจจุบันสีมีอิทธิพลมากขึ้น โลโก้แบบร่วมสมัยมีเป้าหมายหลักในการแสดงผลบนหน้าจอ และการพิมพ์ 4 สีนั้นกลายเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไป อย่างไรก็ตามการทำให้ Logo แสดงผลได้ดีในรูปแบบสีขาวดำ มันคงเป็นการทดสอบความเหมาะสมทางกายภาพพื้นฐานที่ยอดเยี่ยมเสมอมา นักออกแบบต้องพิจารณาทุกๆ โลโก้ในทุกบทบาทที่มันอาจถูกนำไปใช้ในบริษัทหรือองค์กร สถานีโทรทัศน์ หรือธุรกิจออนไลน์อาจมีความจำเป็นที่จะต้องใช้โลโก้แบบขาวดำอยู่บ้างเล็กน้อย
สีที่ใช้ในการออกแบบโลโก้ ในระบบสีดิจิตอล
hex adecimal ระบบสีใน html ระบบสีนี้จะแสดงค่าเป็นเปอร์เซ็นต์ของสีแดง สีเขียว น้าสีน้ำเงิน ที่ใช้บนหน้าจอออกมา 6 หลัก แพ็คของปีนี้จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # และนำไปสร้างสีในหน้าต่างตัวเลือกของโปรแกรม Photoshop และ Illustrator ได้ ตัวอย่างเช่น สีดำจะมีรหัสสีคือ #000000RGB ทุกสิ่งที่แสดงผลบนหน้าจอจะอยู่ในรูปแบบของการผสมสีระหว่างสีแดงสีเขียว และสีน้ำเงินเป็นระบบเติมแต่งสี ซึ่งหมายความว่าการนำสีทั้ง 3 มาผสมกันด้วยอัตราส่วนที่แตกต่างกันเพื่อสร้างขึ้นได้อย่างไม่จำกัด ข้าแต่ละสีถูกวัดโดยมีสเกลการวัดตั้งแต่ 0 ถึง 255
RGBA ระบบนี้มีการใช้งานคล้ายคลึงกับระบบสี rgb โดยมีการเพิ่มในส่วนของความโปร่งแสงเข้ามาด้วยถ้าผมความโปร่งแสงมีการวัดค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 100 โดยการกำหนดค่าความโปร่งแสงของสีนั้นๆที่มีเปอร์เซ็นต์เป็นศูนย์จะโปร่งแสงอย่างสมบูรณ์ในขณะที่ค่าโปร่งแสงคือ 100% จะเป็นความถี่ของแสงโดยสมบูรณ์ซึ่งการใช้งานลักษณะนี้จะนำไปใช้งานกับไฟล์ที่เป็นนามสกุล PNG หรือไฟล์ที่ใช้สำหรับแสดงภาพโปร่งแสง
อ้างอิง
- ภาพประกอบ: by Engin Akyurt from Pexels
- เนื้อหา: หนังสือแปล Type on Screen ออกแบบแลใช้งานตัวอักษรสำหรับสื่อสมัยใหม่
- https://storylog.co/websitebigbang
ความคิดเห็น